|
|
|
 |
|
การเกษตร |
ประชากรในเขตเทศบาล ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ข้าว เลี้ยงสัตว์ รับจ้าง และค้าขาย ดังนี้ |
|
อาชีพเกษตรกรรม |
ร้อยละ 65 |
|
อาชีพเลี้ยงสัตว์ |
ร้อยละ 13 |
|
อาชีพรับจ้าง |
ร้อยละ 8 |
|
อาชีพค้าขาย |
ร้อยละ 9 |
|
อาชีพรับราชการ |
ร้อยละ 5 |
การปศุสัตว์ |
เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือน เป็นอาชีพหลัก และอาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่เป็ดโคสุกรกระบือ จำนวนสัตว์ในพื้นที่โดยประมาณ |
|
|
|
|
 |
|
|
โดยทั่วไปของเทศบาลตำบลสามง่าม ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ มีแม่น้ำยมไหลผ่าน ในฤดูน้ำหรือฤดูฝน น้ำจะไหลล้นแม่น้ำยมเข้าท่วมพื้นที่ บริเวณที่ลุ่มเป็นบริเวณกว้าง ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ |
|
พื้นที่ของเทศบาลตำบลสามง่าม สามารถแบ่งตามลักษณะได้เป็น 2 ส่วน คือ |
|
|
บริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น้ำยม เป็นพื้นที่ที่น้ำท่วมถึงในฤดูน้ำหลาก โดยน้ำจากแม่น้ำยมจะไหลล้นตลิ่ง และในฤดูแล้ง จะประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากแม่น้ำยมแห้ง |
|
|
บริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำยม เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตชลประทาน มีพนังกั้นน้ำแม่น้ำยม ไม่ให้ไหลล้นตลิ่ง เข้าท่วมพื้นที่การเกษตรกรรม
|
|
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม |
|
ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน |
|
ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน |
|
ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน |
|
|
|
|
 |
|
ลักษณะภูมิอากาศในเขตเทศบาลตำบลสามง่าม อยู่ในระดับปานกลาง คือไม่ร้อนและไม่หนาวจัดเกินไปและแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ดังนี้ |
|
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ |
|
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ประมาณเดือนมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม |
|
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ประมาณเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม |
|
อุณหภูมิ เฉลี่ยประมาณ 30-35 องศาเซลเซียส |
|
ปริมาณน้ำฝน เฉลี่ยประมาณ 2,626.60 มม. |
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 99 |
|
วัด จำนวน 3 แห่ง |
|
|
|
|
 |
|
|
โรงพยาบาลสามง่าม |
|
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
การประปา เทศบาลให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ |
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ |
|
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น |
|
|
 |
|
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตเทศบาล ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทำเครื่องจักสารใช้สำหรับในครัวเรือน และวิธีการจับปลาธรรมชาติ |
|
ภาษาถิ่น ส่วนมากร้อยละ 98 % พูดภาษาไทย ภาษากลาง อื่นๆ 2 %
|
|
|
|
|
|
|